ข่าวสารรอบโล�

GSTT แล� TCELS ลงนามบันทึกความเข้าใจการพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์

Guy's and St Thomas' NHS Foundation Trust (GSTT) ร่วมกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร� วิจัยและนวัตกรรมโดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาวิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเซลส์ (TCELS) ลงนามบันทึกความเข้าใ� “การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์ (Genetic Counselor) สำหรับการแพทย์แบบจีโนมิกส์ (Medical Genomics) และการแพทย์แม่นย� (Precision Medicines)�

๶ผยแพร่ภายใต้ 2019 to 2022 Johnson Conservative government

เมื่อวันที่ 14 พฤษภาค� 2564 Guy’s and St Thomas� NHS Foundation Trust (GSTT) ร่วมกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร� วิจัยและนวัตกรรมโดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาวิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเซลส์ (TCELS) หารือและร่วมมือแบ่งปันองค์ความรู� เทคโนโลยี ประสบการณ์ ข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจ และให้การสนับสนุนงานวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และสุขภา� จัดพิธีลงนามบันทึกความเข้าใ� “การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์ (Genetic Counselor) สำหรับการแพทย์แบบจีโนมิกส์ (Medical Genomics) และการแพทย์แม่นย� (Precision Medicines)� ผ่านทางระบบออนไลน์

คุณอเล็กซานดร� แมคเคนซี อัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไท� เปิดเผยว่�

รู้สึกมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ทางสถานทูตอังกฤษประจำประเทศไท� ได้ประสานสัมพันธไมตร� เชื่อมโยงระหว่า� ทีเซลส์ (TCELS) กั� GSTT จนทำให้เกิดความร่วมมือ การลงนามบันทึกความเข้าใ� “การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์ (Genetic Counselor) สำหรับการแพทย์แบบจีโนมิกส์ (Medical Genomics) และการแพทย์แม่นย� (Precision Medicines)� เพื่อฝึกอบรมผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์สำหรับประเทศไท� โครงการนี้ให้คุณประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบนิเวศของจีโนมิกส์ และการให้บริการที่มีคุณภาพสูงแก่คนไทยในอนาคต ซึ่งทีเซลส์ (TCELS) เป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่เป็นพันธมิตรที่สำคัญของอังกฤษ ในด้านการแพทย์และสุขภา� โดยก่อนหน้านี้ ได้มีความร่วมมือในงานด้านการวิจัยทางการแพทย์มาอย่างต่อเนื่อ� เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยื�

ดร.ศิรศักดิ� เทพาค� ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร� กล่าวว่า

ทีเซลส์ (TCELS) ให้การสนับสนุน การสร้างองค์ความรู� ส่งเสริมงานวิจัย พัฒนาต่อยอดให้เกิดผลิตภัณฑ์ บริการ และนวัตกรรมด้านชีววิทยาศาสตร� เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจสู่เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกั� ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (�.�. 2561-2580) ข้� 2 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะในด้านการสร้างศักยภาพด้านการแพทย์แบบแม่นยำ (Precision Medicine) ที่ครอบคลุมการแพทย์แบบจีโนมิกส� (Genomic Medicine) ซึ่งเป็นการนำข้อมูลด้านพันธุกรร� สภาพแวดล้อ� และวิถีชีวิตที่จำเพาะต่อผู้ป่วยแต่ละคน มาใช้ในการวินิจฉัย โดยเลือกการรักษาที่ตรงจุ� และเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละรา� ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำการแพทย์แบบจีโนมิกส์มาประยุกต์ใช้สำหรับการวินิจฉัย ป้องกั� รักษาโรคมะเร็� โรคหายาก โรคติดเชื้อ และเภสัชพันธุศาสตร์ในการป้องกันการแพ้ย� โดยเลือกใช้ยาที่เหมาะสม

การแพทย์แบบจีโนมิกส์ ต้องอาศัยองค์ความรู้ทั้งด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เช่� ชีววิทยาพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล ไปจนถึงด้านคลินิ� เช่� แพทย� พยาบาล และผู้ให้คำปรึกษ� นอกจากนั้น ยังมีข้อมูลอีกจำนวนมหาศา� หรือ Big Data ที่ได้จากการถอดรหัสพันธุกรรม จึงจำเป็นต้องอาศัยนักชีวสารสนเทศ และนักระบาดวิทยาพันธุศาสตร� เพื่อจัดเก็� วิเคราะห์ และประมวลผ� ซึ่งในประเทศไทยยังมีบุคคลกรไม่เพียงต่อการทำงา� โดยเฉพาะผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร� (Genetic Counselor) ที่ประเทศไทยยังไม่มีวิชาชีพนี� และยังไม่มีหลักสูตรการสอนอย่างเป็นทางกา�

ดร.ศิรศักดิ� กล่าวเพิ่มเติมว่า

ประเทศอังกฤษ เป็นประเทศที่มีศักยภาพด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์และสุขภาพ โดยเฉพาะด้านการแพทย์แบบจีโนมิกส์ โดยมีการจัดทำหลักสูตรวิชาชีพและการฝึกอบรมด้านการให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์ พร้อมทั้งออกใบรับรองการประกอบวิชาชีพที่สามารถปฏิบัติงานได้ทั่วโล� ดังนั้� ทีเซลส์ (TCELS) จึงได้ร่วมหารือกับ Guy’s and St Thomas� NHS Foundation Trust หรือ GSTT ที่เป็นส่วนหนึ่งขอ� King’s Health Partners ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้าน Health Sciences ระดับโลกภายใต้การสนับสนุนของ National Health Service (NHS) จึงเกิดความร่วมมือการฝึกอบรมด้านการให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร� และพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร� (Genetic Counselor) โดยได้รับการประสานงานและความช่วยเหลือจากสถาน๶อกอัครราชทูตอังกฤษประจำประ๶ทศไทยเป็นอย่างดี

การลงนามบันทึกความเข้าใ� “การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์ (Genetic Counselor) สำหรับการแพทย์แบบจีโนมิกส์ (Medical Genomics) และการแพทย์แม่นย� (Precision Medicines)� ในครั้งนี้ ถือว่าเป็นปรากฎการณ์ที่ดีในความร่วมมื� การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร� ที่จะทำให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์จากประเทศอังกฤษสู่ประเทศไท� ทั้งยังเพิ่มบุคลากรด้านการแพทย์จีโนมิกส์ ที่ทำงานให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์ให้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้� และยังได้รับความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย ทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการวินิจฉัย และประชาชนได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ส่งผลให้มีสุขภาพที่ด� และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้� ช่วยลดภาระในด้านงบประมาณของรัฐบาลอีกด้วย

ความร่วมมือด้านการแพทย์และสุขภาพระหว่างประเทศไทยกับประเทศอังกฤษในครั้งนี้ ยังทำให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานด้านการแพทย์จีโนมิกส์ของประเทศไทยและประเทศอังกฤษ เป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาความร่วมมือในมิติอื่นๆ ให้ขยายกว้างยิ่งขึ้นจากเดิ� ไม่ว่าจะเป็นการวิจั� หรือ การพัฒนาการให้บริการทางการแพทย์ร่วมกัน พร้อมเข้าสู่อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจ� ในนามของทีเซลส์ (TCELS) ขอขอบคุณทางสถาน๶อกอัครราชทูตอังกฤษประจำประ๶ทศไทยเป็นอย่างยิ่ง ที่เชื่อมโยงให้เกิดความร่วมมือในการทำงานร่วมกันระหว่างทีเซลส์ (TCELS) แล� GSTT

Updates to this page

เผยแพร่เมื่อ 18 พฤษภาค� 2021